ทำลิ้งค์

ข้อความวิ่ง

เว็บบล็อกการเรียนรู้ของเปปเปอร์

วันอาทิตย์ที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2564

ผลงานวิชาอังกฤษเสริม

หลักการใช้ In On At

หลักการใช้ AT,ON,IN เบื้องต้น

At แปลว่า ที่, ณ จะใช้ at เมื่อเฉพาะเจาะจงสถานที่แน่นอน หรือใช้กับช่วงเวลา จุดเวลา

ตัวอย่าง

Security checks have become really strict at the airport.

She works on the checkout at the local supermarket.

On แปลว่า บน ที่ จะใช้ on เพื่อแสดงบางอย่างที่สามารถเคลื่อนไหว จับต้องได้ หรือเป็นการโชว์ ทั้งแนวตั้งและแนวนอน

ตัวอย่าง

A hovercraft travels on a cushion of air.

Don’t put your elbows on the table.

นอกจากนี้ On ยังใช้กับเวลา

ชื่อวันของสัปดาห์  : On Sunday.

วันพิเศษ On Father’s day.



ผลงานวิชาประวัติศาสตร์

วันพฤหัสบดีที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2564

ผลงานวิชาสุขศึกษา

 

เทเบิลเทนนิส หรือ ปิงปอง เป็นกีฬาโดยมีผู้เล่นสองหรือสี่คน ซึ่งยืนเล่นกันคนละด้านของโต๊ะปิงปอง โดยตีลูกโต้


กัน





วิธีการเล่น





เทเบิลเทนนิสเป็นกีฬาโอลิมปิก โดยมีผู้เล่นสองหรือสี่คนตีลูกบอลกระทบหน้าไม้หรือหลังไม้ให้ข้ามไปยังอีกฝากหนึ่งของโต๊ะ ซึ่งคล้ายกับกีฬาเทนนิส กฎกติกามีความแตกต่างกันบ้าง แต่มองภาพรวมแล้วเทเบิลเทนนิสกับเทนนิสมีลักษณะคล้ายกัน ในเกมเดียว ไม่จำเป็นต้องตีลูกบอลให้ข้ามไขว้จากฝั่งขวามือของผู้ส่งไปยังฝั่งขวามือของผู้รับ(หรือซ้ายมือผู้ส่ง ไปยังซ้ายมือของผู้รับ)เหมือนกับเทนนิส อย่างไรก็ดี การเสิร์ฟไขว้ในลักษณะนั้นจำเป็นต้องมีในเกมเล่นคู่ ลูกสปิน ลูกเร็ว ลูกหยอด ซึ่งกลยุทธ์และเทคนิคการเล่นก็มี












ห้ข้ามตาข่ายเน็ตกั้นกลางโต๊ะปิงปองไปมา ผู้เล่นมีสิทธิ์ให้ลูกบอลเด้งกระดอนตกพื้นโต๊ะฝั่งตนเองได้เพียง 1 ครั้งเท่านั้น แล้วจึงตีโต้ข้ามฟากให้เด้งกระดอนไปกระทบกับพื้นโต๊ะฝ่ายตรงข้าม ถ้าลูกไม่กระทบกับพื้นโต๊ะของฝ่ายตรงข้ามก็ถือว่าเสีย แต่ถ้าเป็นลูกดีฝ่ายตรงข้ามก็จะตีโต้กลับมาฝั่งเรา เทเบิลเทนนิสเป็นเกมที่โต้รับกับอย่างรวดเร็ว ผู้เล่นที่มีฝีมือสามารถตีลูกสปินได้ ทำให้ปิงปองนั้นหมุนเร็ว ซึ่งจะทำให้ฝ่ายตรงข้ามรับได้ยากยิ่งขึ้น

เทเบิลเทนนิสเป็นที่นิยมอย่างมาก โดยเฉพาะในแถบเอเชียตะวันออก และเมื่อเทียบกันกับกีฬาชนิดอื่นแล้วปิงปองถือว่าเป็นกีฬาที่ได้รับความนิยมอย่างยิ่ง ในฐานะที่เป็นกีฬาชนิดใหม่ที่กำลังได้รับความนิยมอย่างมากในปัจจุบัน


โภชชนาการอาหาร 


















โภชนาการเป็นการคัดเลือกอาหารและเตรียมอาหาร และการย่อยเพื่อให้ร่างกายดูดซึมสารอาหาร การทานอาหารเพื่อสุขภาพสามารถหลีกเลี่ยงปัญหาสุขภาพได้หลายอย่าง

นักกำหนดอาหารเป็นวิชาชีพสาธารณสุขผู้มีความชำนาญพิเศษในโภชนาการมนุษย์ การวางแผนมื้ออาหาร เศรษฐศาสตร์และการเตรียม พวกเขาได้รับการฝึกเพื่อให้คำแนะนำทางอาหารที่ปลอดภัยต่อผู้บริโภค และการจัดการต่อปัจเจกบุคคล ตลอดจนสถาบัน นักโภชนาการคลินิกเป็นวิชาชีพสาธารณสุขซึ่งมุ่งเจาะจงต่อบทบาทของโภชนาการในโรคเรื้อรัง ซึ่งรวมการป้องกันหรือการรักษาโรคที่เป็นไปได้โดยการจัดการกับการพร่องสารอาหารก่อนพึ่งยา

อาหารไม่ดีอาจมีผลทำร้ายสุขภาพ ทำให้เกิดโรคความพร่อง เช่น ลักปิดลักเปิด, สภาพที่ร้ายแรงถึงชีวิต เช่น โรคอ้วน และโรคเมทาบอลิก และโรคทั่วร่างกายเรื้อรัง เช่น โรคหัวใจหลอดเลือด เบาหวานและกระดูกพรุน










ปรตีน[แก้]

ดูบทความหลักที่: กรดอะมิโน และโปรตีน

ร่างกายต้องการกรดอะมิโนเพื่อสร้างโปรตีนขึ้นใหม่และเพื่อแทนที่โปรตีนที่เสื่อมสภาพซึ่งจะถูกขับถ่ายออกทางปัสสาวะ ในร่างกายของสัตว์ ความต้องการกรดอะมิโนชนิดใด ๆ จะขึ้นอยู่กับว่ากรดอะมิโนชนิดนั้น ๆ








ตามิน[แก้]

ดูบทความหลักที่: วิตามิน

วิตามิน เป็นสารอินทรีย์ที่สิ่งมีชีวิตจำเป็นต้องได้รับในบริมาณเล็กน้อย สำหรับการเติบโต ขยายพันธุ์ และช่วยให้มีสุขภาพดี ถ้าสิ่งมีชีวิตขาดวิตามินตัวใดตัวหนึ่งจะมีอาการป่วยซึ่งมีลักษณะเฉพาะขึ้นกับวิตามินที่ขาด

วิตามินแบ่งออกเป็น 2 จำพวก ได้แก่ วิตามินที่ละลายในน้ำ เช่น B1, B2, B3, B5, B6, B12, H, M, C






ขมัน[แก้]

ดูบทความหลักที่: กรดไขมัน และไขมัน

ในทางเคมีโดยเฉพาะอย่างยิ่งชีวเคมี กรดไขมันเป็นกรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid) ซึ่งมีหางเป็นโซ่แบบ อะลิฟาติก (aliphatic) ยาว มีทั้งอิ่มตัว (saturated) และไม่อิ่มตัว กรดไขมันจะมีคาร์บอน อย่างน้อย 8 อะตอม และส่วนใหญ่จะเป็นจำนวนเลขคู่ เพราะกระบวนการชีวสังเคราะห์ของกรดไขมันจะเป็นการเพิ่มโมเลกุลของอะซิเตต ซึ่งมีคาร์บอน อยู่ 2 อะตอม









คาร์โบไฮเดรต[แก้]

ดูบทความหลักที่: น้ำตาล และคาร์โบไฮเดรต

น้ำตาล คือ สารให้ความหวานตามธรรมชาติชนิดหนึ่ง มีเรียกกันหลายแบบ ขึ้นอยู่กับรูปร่างลักษณะของน้ำตาล เช่น น้ำตาลทราย น้ำตาลกรวด น้ำตาลก้อน น้ำตาลปีบ เป็นต้น แต่ในทางเคมี โดยทั่วไปหมายถึง ซูโครส หรือ แซคคาโรส ไดแซคคาไรด์ ที่มีลักษณะเป็นผลึกของแข็งสีขาว น้ำตาลเป็นสารเพิ่มความหวานที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย ในอุตสาหกรรมการผลิตอาหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ขนมหวาน และเครื่องดื่ม ในทางการค้าน้ำตาลผลิตจาก อ้อย (sugar cane) , ต้นตาล (sugar palm) , ต้นมะพร้าว (coconut palm) , ต้นเมเปิ้ลน้ำตาล (sugar maple) และ หัวบีท (sugar beet) ฯลฯ น้ำตาลที่มีองค์ประกอบทางเคมีแบบง่ายที่สุด หรือ โมโนแซคคาไรด์ เช่น กลูโคส เป็นที่เก็บพลังงาน ที่จะต้องใช้ในกิจกรรม ทางชีววิทยา ของเซลล์ ศัพท์ทางเทคนิคที่ใช้เรียกน้ำตาลจะลงท้ายด้วยคำว่า "-โอส" (-ose) เช่น กลูโคส


การปฐมพยาบาล














ปฐมพยาบาล หมายถึง การให้ความช่วยเหลือแก่บุคคลที่กำลังเจ็บป่วยหรือบาดเจ็บ โดยบริบาลให้เพื่อรักษาชีวิต ป้องกันมิให้สภาวะนั้นเลวลง และ/หรือเพื่อส่งเสริมการฟื้นตัว ปฐมพยาบาลรวมถึงการรักษาเบื้องต้นในภาวะรุนแรงก่อนมีการช่วยเหลือของบุคลากรทางการแพทย์ เช่น การนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพขณะกำลังรอรถพยาบาล ตลอดจนการรักษาเบ็ดเสร็จซึ่งภาวะเล็กน้อย เช่น การปิดพลาสเตอร์แผลถูกวัตถุมีคมบาด ปกติผู้ให้ปฐมพยาบาลเป็นบุคคลมิใช่อาชีพสาธารณสุข โดยมีหลายคนได้รับการฝึกการให้ปฐมพยาบาลขั้นพื้นฐาน และหลายคนเต็มใจให้ปฐมพยาบาลจากความรู้ที่ได้มา ปฐมพยาบาลสุขภาพจิตเป็นส่วนขยายของมโนทัศน์ปฐมพยาบาลให้ครอบคลุมสุขภาพจิต

มีหลายสถานการณ์ซึ่งอาจต้องการปฐมพยาบาล และหลายประเทศมีกฎหมาย ข้อบังคับหรือแนวทางซึ่งชี้ชัดระดับการให้ปฐมพยาบาลขั้นต่ำในบางสถานการณ์ ซึ่งปฐมพยาบาลนี้อาจรวมการฝึกหรืออุปกรณ์เครื่องมือเฉพาะซึ่งมีอยู่ในที่ทำงาน (เช่น เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ) การจัดหาผู้เชี่ยวชาญปฐมพยาบาลให้ครอบคลุมที่สาธารณะ หรือการฝึกปฐมพยาบาลภาคบังคับในโรงเรียน ทว่า ปฐมพยาบาลไม่จำเป็นต้องอาศัยอุปกรณ์เครื่องมือหรือมีความรู้มาก่อนโดยเฉพาะ และสามารถหาเอาได้จากวัสดุที่มีอยู่ ณ เวลานั้น โดยผู้ปฐมพยาบาลจะไม่เคยฝึกมาก่อนก็ได้

ปฐมพยาบาลสามารถกระทำได้กับสัตว์เกือบทุกชนิด เช่น การปฐมพยาบาลสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ถือแม้ว่าบทความนี้จะกล่าวถึงการปฐมพยาบาลแต่ในมนุษย์เท่านั้น

























































วันพุธที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2564

ผลงานวิชาภาษาจีน



















ภาษาจีนมาตรฐาน (อังกฤษStandard Chinese) หรือ ผู่ทงฮฺว่า (จีน普通话/普通話พินอินPǔtōnghuà; "ภาษาสามัญ") เป็นภาษามาตรฐานซึ่งเป็นภาษาราชการเพียงหนึ่งเดียวของทั้งประเทศจีนและประเทศไต้หวัน ทั้งยังเป็นหนึ่งในภาษาราชการทั้งสี่ของประเทศสิงคโปร์ ภาษาจีนมาตรฐานออกเสียงตามสำเนียงเป่ย์จิง (北京話) ใช้คำศัพท์ตามสำเนียงกลาง และใช้ไวยากรณ์ตามภาษาจีนที่ใช้เขียนในชีวิตประจำวัน (written vernacular Chinese)

ภาษาจีนมาตรฐานมีวรรณยุกต์เช่นเดียวกับภาษาจีนแบบอื่น ๆ เมื่อเทียบกับภาษาจีนที่ใช้ในตอนใต้แล้ว ภาษาจีนมาตรฐานมีพยัญชนะต้นมากกว่า แต่มีสระ พยัญชนะท้าย และวรรณยุกต์ น้อยกว่า นอกจากนี้ ภาษาจีนมาตรฐานยังเน้นหัวเรื่อง (topic-prominent) และเรียงประโยคแบบประธาน-กริยา-กรรม

ภาษาจีนมาตรฐานนั้นใช้อักษรแบบเต็มหรือแบบย่อเขียนก็ได้ ส่วนการถอดเป็นอักษรโรมันนั้นใช้อักษรพินอินแบบฮั่น








ภาษาจีนกลาง เป็นคำที่คนไทยใช้เรียกภาษาหลักของจีน ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เรียกภาษานี้ว่า ฮวา-ยวี่ (อักษรจีน: 华语/華語) แปลว่าภาษาฮวา ซึ่งคำว่า ฮวา หรือ ฮวาเยริน (อักษรจีน: 华人/華人) เป็นคำที่ชาวจีนใช้เรียกตัวเองในปัจจุบัน สำหรับประเทศจีนจะเรียกภาษานี้ว่า ฮั่นยวี่ (อักษรจีน: 汉语/漢語) แปลว่า ภาษาฮั่น อันป็นภาษาของชาวฮั่น

ภาษาอังกฤษเรียกภาษานี้ว่า Mandarin (แมนดาริน) ซึ่งมีรากจากคำในภาษาโปรตุเกสว่า Mandarim (มันดาริม), จากคำในภาษามลายูว่า Menteri (เมินเตอรี), และจากคำในภาษาสันสกฤตว่า Mantrin (มันตริน) หรือเทียบตรงกับคำไทยว่า มนตรี และคำว่า กว่านฮว่า (อักษรจีน: 官话/官話) กว่าน (อักษรจีน: 官) แปลว่าราชสำนักและ ฮว่า (อักษรจีน: 话/話) แปลว่าพูด เป็นชื่อโบราณที่ใช้เรียกภาษานี้ ปัจจุบันใช้ในเชิงวิชาการเพื่อแยกว่าไม่ใช่ภาษาจีนกลุ่มอื่นเช่น ภาษาแต้จิ๋วภาษาฮกเกี้ยนภาษากวางตุ้ง เป็นต้น

















ภาษาจีนถิ่นต่าง ๆ อักษรจีน และ ภาษาอื่น ๆ ที่พูดในประเทศจีน

ภาษาจีนทางการ

ภาษาหลัก

ภาษาย่อยในภาษาหมิ่น

ภาษาย่อยในภาษาหมิ่นใต้

อักษรจีน

ภาษาอื่น ๆ ที่พูดในจีน

รับอิทธิพลจากภาษาจีน












ผลงานวิชาภาษาไทย

 



ภาษาไทย หรือ ภาษาไทยกลาง เป็นภาษาราชการและภาษาประจำชาติของประเทศไทย ภาษาไทยเป็นภาษาในกลุ่มภาษาไทซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษาขร้า-ไท สันนิษฐานว่า ภาษาในตระกูลนี้มีถิ่นกำเนิดจากทางตอนใต้ของประเทศจีน และนักภาษาศาสตร์บางส่วนเสนอว่า ภาษาไทยน่าจะมีความเชื่อมโยงกับตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติก ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน และตระกูลภาษาจีน-ทิเบต

ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีระดับเสียงของคำแน่นอนหรือวรรณยุกต์เช่นเดียวกับภาษาจีน และออกเสียงแยกคำต่อคำ

ภาษาไทยปรากฏครั้งแรกในพุทธศักราช 1826 โดยพ่อขุนรามคำแหง และปรากฏอย่างสากลและใช้ในงานของราชการ เมื่อวันที่ 31 มีนาคม พุทธศักราช 2476 ด้วยการก่อตั้งสำนักงานราชบัณฑิตยสภาขึ้น และปฏิรูปภาษาไทย พุทธศักราช 2485






เนื้อหา











ผลงานวิชาอังกฤษเสริม

หลักการใช้ In On At หลักการใช้ AT,ON,IN เบื้องต้น ·   by  shorteng   ·  in  Grammar ภาษาอังกฤษ .  · At  แปลว่า ที่, ณ จะใช้ at เมื่อเฉพาะเจา...